รูปภาพ 2

รูปภาพ 2

วันเสาร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2557

บทที่ 1-3

บทที่ 1(นางสาวพสุลักษณ์  ไพบูลย์ รหัส 54243269223)

1 .จงอธิบายความหมายของคําต่อไปนี้ พร้อมยกตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตประจําวัน    เทคโนโลยี Technology)หมายถึง การนําความรู้ทางวิทยาศาสตร์หรืความรู้ทางด้านอื่นๆที่ได้จัดระเบียบดี แล้วมาประยุกต์ใช้ในด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อให้งานนั้นมีความสามารถและประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตประจําวันของ เทคโนโลยี (Technology) เช่น คอมพิวเตอร์,พัดลม ,โทรทัศน์ , โทรศัพท์, เครื่องปรับอากาศ , ตู้เย็น , กล้องถ่ายรูป, เครื่องซักผ้า ฯลฯ
1. ตื่นนอนเราอาจได้ยินเสียงจากวิทยุประจําหมู่บ้าน ซึ่งกระจายเสียงข่าวสารหรือสาระบันเทิง
2. ใช้โทรศัพท์สื่อสารกับเพื่อน
3. ดูรายการทีวีทุกเช้า4. เราเดินทางผ่านถนนที่มีระบบไฟสัญญาณที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
5. ที่ศูนย์การค้าเราขึ้นลิฟต์ขึ้นบันไดเลื่อนที่มีการควบคุมการทํางานด้วยคอมพิวเตอร์
6. บ้านมีเครื่องปรับอากาศที่มีการควบคุมอุณหภูมิโดยอัตโนมัติ
7. ซักผ้าด้วยเครื่องซักผ้า     สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการเก็บข้อมูลและเรียบเรียง เพื่อใช้เป็นข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตประจําวันของสารสนเทศ (Information)
1. ห้างสรรพสินค้าใช้รหัสแท่ง (bar code) เพื่อให้เครื่องอ่านเก็บรวบรวมข้อมูลเมื่อไปซื้อสินค้า
2. สื่อต่างๆ, TV,การหาข้อมูลในคอพิวเตอร์
3. การโอนเงินผ่านระบบออนไลน์
4. การใช้โทรศัพท์มือถือ
5. การใช้ E-mail    เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึง การนําเทคโนโลยีมาใช้ในงานที่เกี่ยวกับการประมวลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศ ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้เป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ กับเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อช่ วยในการสื่อสาร และส่งผ่านข้อมูลและสารสนเทศได้สะดวกรวดเร็วมากขึ้น ตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตประจําวันของเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ คน สิ่งของ ฯลฯ ที่เราสนใจบันทึกเก็บไว้ใช้งาน ตัวอย่าง เช่น การเก็บข้อมูล การขายรายวันแล้วนําการประมวลผล เพื่อหาว่าสินค้าใดมียอดขายสูงที่สุด เพื่อจัดทําแผนการขายในเดือนต่อไป การเก็บภาพ วิดีโอ ที่เราบันทึกไว้จากการไปท่องเที่ยวในที่ต่างไว้
ฐานความรู้ (Knowledge base) คือ สารสนเทศได้จัดเป็นโครงสร้างความรู้ความเข้าใจ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญและต้องมีคุณค่าเพื่อแก้ไขปัญหาในการดําเนินงานต่างๆได้ ตัวอย่าง เช่น รายงานสรุปผลการผลิตต่อวัน รายงานสรุปผลการดําเนินการบํารุงรักษาเครื่องจักร เป็นต้น


2. โครงสร้างสารสนเทศมี 4 ระดับคือ1. ระดับล่างสุด เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผลข้อมูลซึ่งเรียกว่าระบบประมวลผลรายการ(Transaction Processing System) เช่นใบเสร็จรับเงิน รายการขาย การควบคุมวัสดุของหน่วยงาน
2. ระดับที่สอง (Operation Control) เป็นการใช้คอมพิวเตอร์จัดทําสารสนเทศสําหรับผู้บริหารระดับล่าง เพื่อใช้ในการวางแผน การควบคุม และการตัดสินใจเกี่ยวเนื่องกับงานประจําวัน
3. ระดับที่สาม (Management Control) เป็นการใช้คอมพิวเตอร์จัดทําสารสนเทศสําหรับผู้บริหารระดับกลาง ใช้ในการจัดการและวางแผนงานระยะสั้น ตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 1 ปี หรือแผนยุทธวิธีให้ดําเนินไปตามแผนระยะสั้นนั้นได้
4. ระดับที่สี่ หรือ (Strategic Planning) เป็นการใช้คอมพิวเตอร์จัดทําสารสนเทศสําหรับผู้บริหารระดับสูง สําหรับใช้วางแผนระยะยาวหรือแผนกลยุทธ์ เช่น ในอีก 5 ปี ข้างหน้า องค์กรจะผลิตสินค้าใด3. วิวัฒนาการของเทคโลยีสารสนเทศมีอะไรบ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง1. ยุคการประมวลผลข้อมูล (Data Processing Era) เป็นยุคแรกๆ ของการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ วัตถุประสงค์ช่วงนั้นคือ เพื่อคํานวณและการประมวลผลข้อมูลประจําวันเพื่อลดค่าใช้จ่ายและบุคลากรลง เช่น การทําบัญชี การเก็บบันทึกข้อมูลต่างๆ
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS) ยุคที่ 2 มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจดําเนินการควบคุม ติดตามผล และวิเคราะห์ผลงานของผู้บริหาร เช่น วิเคราะห์ผลงานรายได้รายจ่ายขององค์กร เป็นต้น
3. ระบบจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resource Management System : IRMS) ยุคที่ 3 เป็นการเรียกใช้สารสนเทศ เพื่อที่ช่วยในการตัดสินใจในการนําองค์กรหรือหน่วยงานไปสู่ความสําเร็จ
4. ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หรือยุคไอที ในปัจจุบันเทคโนโลยีมีความเจริญอย่างรวดเร็ว ทําให้มีทางเลือกและเกิดรูปแบบใหม่ของสินค้าและบริการ รวมเรียกว่าเป็นการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี โทรคมนาคมเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดทําระบบสารสนเทศ โดยมุ่งเน้นการให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นวัตถุประสงค์สําคัญ
บทที่ 2
(นางสาวพสุลักษณ์  ไพบูลย์ รหัส 54243269223)

บทที่ 2
1.จงอธิบายความหมาย พร้อมยกตัวอย่างของคำดังต่อไปนี
1.1ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เป็น ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ หมายถึง ส่วนที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบขึ้นมาใช้งานได้ ซึ่งสามารถแบ่งส่วนประกอบได้ 3 ส่วนที่สาคัญ คือ· อุปกรณ์รับข้อมูล เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลเข้าไปสู่หน่วยประมวลผลกลาง ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลคาสั่งต่างๆ ผ่านอุปกรณ์ เหล่านี้เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ ได้แก่-แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลที่สามารถพิมพ์หรือเคาะได้ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร เป็นต้น แป้นพิมพ์ถูกออกแบบให้ประกอบด้วยกลุ่มของคีย์ที่มีลักษณะต่างๆ คือ คีย์ตัวอักษร คีย์ตัวเลข คีย์ฟังก์ชั่น-เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์สาหรับรับข้อมูลจากการชี้ตาแหน่งบนจอภาพอุปกรณ์ตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของแสง โดยตัวตรวจจับจะส่งสัญญาณไปที่คอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผลของตัวชี้บนหน้าจอ นอกจากนี้ยังใช้เมาส์สาหรับการวาดรูป การเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนย้าย ซึ่งอาจทาให้ผู้ใช้งานสามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้อย่างรวดเร็ว· อุปกรณ์ของหน่วยประมวลผล การประมวลผลของคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นจากการทางานประสานกันของหน่วยประมวลผลและหน่วยความจาหลักหรือหน่วยความจาภายใน โดยหน่วยประมวลผลจะทาหน้าที่ควบคุมและปฏิบัติการตามขั้นตอนของโปรแกรม ในขณะที่หน่วยความจาจะเป็นที่พักของโปรแกรม ข้อมูลนาเข้า และผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลก่อนนาออกไปแสดงทางอุปกรณ์แสดงผล· อุปกรณ์แสดงผล อุปกรณ์แสดงผล เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับผลจากการประมวลผลที่เก็บไว้ใหน่วยความจำหลัก ออกแสดงตามลักษณะของอุปกรณ์ ซึ่งมีอยู่ไม่กี่ประเภทที่นิยมใช้ คือ-จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ-เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์โดยผ่านพอร์ตขนานหรือพอร์ต USB เพื่อทาหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการ ประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปของอักษร-ลำโพง เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์ด้วยเสียง ปกติคอมพิวเตอร์สามารถส่งสัญญาณเสียงได้ แต่การแสดงผลลัพธ์ในระบบเสียงในที่นี้หมายถึง เสียงที่เกิดจากการ์ดเสียง ในระบบมัลติมีเดีย ลาโพงที่มาพร้อมกับชุดมัลติมีเดียจะมีลักษณะคล้ายลาโพงทั่วไป หน้าที่หลักคือ เมื่อการ์ดเสียงเปลี่ยนสัญญาณเสียงดิจิตอลให้เป็นกระแสไฟฟ้า ผ่านมายังลำโพงทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแม่เหล็กและเกิดการสั่นสะเทือนของลาโพง มีผลทำให้เกิดเสียงในระดับต่างๆ
1.2ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟท์แวร์ เป็นส่วนของโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เพื่อที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้ ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวอาจจะเขียนอยู่ในรูปของภาษาเครื่องที่จะทำให้เครื่องเข้าใจและทำงานได้โดยตรง-ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน เป็น Software ที่ใช้สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น Software สาหรับงานธนาคารการฝากถอนเงิน Software สาหรับงานทะเบียนนักเรียน ซอฟต์แวร์คิดภาษี ซอฟต์แวร์การให้บริการร้าน Seven ฯลฯ-ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป โดยในซอฟต์แวร์ 1 ตัวมีความสามารถในการทางานได้หลายอย่าง เช่น ซอฟต์แวร์งานด้านเอกสาร (Microsoft Word ) มีความสามารถในการสร้างงานเอกสารต่าง ๆ จัดทาเอกสารรายงาน จัดทาแผ่นพับ จัดทาหนังสือเวียน จัดทาสื่อสิ่งพิมพ์
1.3บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ (Peopleware) หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้· ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน· นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน· โปรแกรมเมอร์ (Programmer)คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้· ผู้ใช้ (User)คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทางานได้ตามที่ต้องการ·  · 1.4ข้อมูล (Data) และสารสนเทศ (Information) ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความที่เกิดขึ้นจาก การ ดาเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในการตัดสินใจได้ทันที จะนาไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว·  · 1.5ข้อมูล (Data) และสารสนเทศ (Information) ความหมายของสารสนเทศสารสนเทศ (Information) คือสิ่งที่ได้จากการประมวลผลของข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ในด้านการวางแผน การพัฒนา การควบคุม และการตัดสินใจ สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความถูกต้อง สมบูรณ์ น่าเชื่อถือ มีความทันสมัย โดยมีรูปแบบการนาเสนอที่สวยงาม ชัดเจน น่าสนใจ และเข้าใจได้ง่าย2.หากนักศึกษาเป็นเจ้าของธุรกิจ ดังต่อไปนี้ (เลือก 1 ธุรกิจ) จะนำองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ Hardware ,Software และ Peopleware ใดมาใช้ในธุรกิจบ้าง เพราะเหตุใดจงอธิบาย· ร้านอาหาร· ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เป็น ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ หมายถึง ส่วนที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบขึ้นมาใช้งานได้· ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟท์แวร์ เป็นส่วนของโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เพื่อที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้ ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวอาจจะเขียนอยู่ในรูปของภาษาเครื่องที่จะทำให้เครื่องเข้าใจและทำงานได้โดยตรง· บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ (Peopleware) บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน                           
3.ให้นักศึกษาแสดงข้อมูล จำนวน 1 ชุด พร้อมทั้งแสดงในรูปแบบของระบบสารสนเทศ


Safety Valve
Control Valve
Manual Valve
2010
450
246
423
2011
580
346
625
2012
487
345
547
2013
750
459
479

                                           
j
แสดงข้อมูลการซ่อมวาล์ว 2010-2013










 บทที่ 3
นางสาวพสุลักษณ์  ไพบูลย์ รหัส 54243269223
1.       ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเลคทรอนิคส์แบ่งได้ 3 วิธี คือ                                                         1.1 ขั้นเตรียมข้อมูล (input) เป็นการจัดเตรียมข้อมูลที่ให้สะดวกต่อการประมวลผลมี 4 วิธี                  -การลงรหัส                  -การตรวจสอบ                  -การจำแนก                  -การบันทึกข้อมูลลงสื่อ
           1.2 ขั้นตอนการประมวลผล (Processing) คือ เป็นการนำเอาโปรแกรมที่เขียนขึ้น มาใช้เพื่อประมวลผลข้อมูลที่ได้เตรียมไว้และข้อมูลยังคงเก็บอยู่ใน คอมพิวเตอร์ ซึ่งป็นวิธีการผลิตสารสนเทศต่างๆ เช่น                -การคำนวณ                -การเรียงลำดับข้อมูล                -การสรุป                -การเปรียบเทียบ
           1.3 ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์ (Output) เป็นขั้นตอนการเผยแพร่สารสนเทศให้กับผู้ใช้ในรูปแบบต่างๆอาจอยู่ในรูปแบบเอกสาร รายงาน การนำเสนอบนจอภาพ โดยการใช้คอมพิวเตอร์
2. จงเรียงลำดับโครงสร้างข้อมูลจากขนาดเล็กไปใหญ่ พร้อมอธิบายความหมายของโครงสร้างข้อมูลแต่ละแบบ1.       บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลเลขฐาน 2 คือ 0,12.       ไบต์ (Byte) เรียกว่า ตัวอักขระ ,ตัวอักษร คือการนำบิตมารวมกัน3.       ฟิลด์ (Flied) คือ การนำไบต์หลายๆไบต์รวมกันเป็น เรียกว่าเขตข้อมูล4.       เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายๆฟิลด์มารวมกัน เรียกว่าระเบียน5.       ไฟล์ (Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน เรียกว่า แฟ้มข้อมูล6.       ฐานข้อมูล (Database) คือ การนำไฟล์หลายๆ ไฟล์มารวมกัน เรียกว่าฐานข้อมูล
3. หากนำเอาระบบฐานข้อมูลมาใช้ในหน่วยงานที่นักศึกษาทำงานอยู่ สามารถมีระบบใดบ้าง และระบบฐานข้อมูลนั้นมีประโยชน์ต่อองค์กรอย่างไร     -รูปแบบของระบบฐานข้อมูล มีอยู่ 3 แบบ คือ     1. แบบจำลองฐานข้อมูลลำดับชั้น (Hierarchical Database Model)
     2. แบบจำลองฐานข้อมูลเครือข่าย (Network Database Model)
     3. แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model)
     - ระบบฐานข้อมูลนั้นมีประโยชน์ต่อองค์กรคือ     1. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลสามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน     2. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล     3. รักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล     4. กำหนดระบบรักษาความปลอดภัย,กำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้     5. เกิดความอิสระของข้อมูล 
4. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างการประมวลผลข้อมูลแบบแบชและแบบเรียลไทม์1.       การประมวลผลแบบแบช (Batch  Processing)   คือ การประมวลผลข้อมูลที่ได้ทำการเก็บรวบรวมไว้เป็นชุดข้อมูล  แล้วจึงนำส่งข้อมูลเหล่านั้นไปทำการประมวลผลข้อมูลพร้อมกันทั้งหมดทีเดียวซึ่งระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลเอาไว้เพื่อรอการประมวลผล  อาจจะเป็นรายวัน  รายสัปดาห์  รายเดือน  หรือรายปี  เป็นต้น  เช่นการประมวลผลการเสียภาษีประจำปี   การคิดดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคาร2.       การประมวลผลแบบเรียลไทม์  (Real - Time Processing)  คือ  การประมวลผลทันทีทุกครั้งที่มีการส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ  บางทีอาจจะเรียกว่า  การประมวลผลแบบ  Transaction  Processing   เช่น  ระบบเงินฝาก  -  ถอนเงินด้วย  ATM  ของธนาคาร  ระบบสำรองที่นั่งในเครื่องบิน  ระบบการตัดยอดสินค้าคงคลังทุกครั้งที่มีการสั่งซื้อสินค้าจากลูกค้า  เป็นต้น        การประมวลผลข้อมูลทั้งสองวิธีขึ้นอยู่กับลักษณะการทำงานของระบบว่ามีความจำเป็นมากน้อยเพียงใดที่จะต้องทำการประมวลผลทันทีหรือสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลไว้เป็นกลุ่มก่อนแล้วจึงทำการประมวลผลพร้อมกันทีเดียว  เช่น  การประมวลผลการเสียภาษี  จะทำการประมวลผล  ปีต่อครั้ง  เนื่องจากการคิดภาษีเป็นการคิดจากรายได้ตลอดปี แต่การตัดยอดบัญชีเงินฝากของลูกค้าจำเป็นที่จะต้องทำการประมวลผลทันทีทุกครั้งที่มีการฝากหรือถอนเงิน  เพื่อทราบยอดคงเหลือที่ลูกค้ามีอยู่   ปัจจุบัน  เป็นต้น


1.ระบบATM เป็นระบบที่อํานวยความสะดวกสบายอย่างมากให้แก่ผู้ใช้บริการธนาคารและเป็นตัวอย่า งเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใช้เอทีเอ็ม เนื่อกจาก ATM ให้บริการ24ชั่วโมง ส่วนธาคาร ให้บริการลูกค้าในเวลาปกติเท่านั้น คือ เฉพาะวันจันทร์ถึงศุกร์ เวลา 8.00-14.00 น.หลังจากบ่ายสองโมงก็หมดโอกาส ได้รับบริการฝากถอนเงินแล้ว ทุกคนจึงหันมาใช้ตู้ ATM กัน เพื่อความสะดวกสบาย


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น